L หรือคำเรียกเต็มๆว่า Lolicon ความหมายง่ายๆของ L คือ "รักเด็ก" มันเป็นความหมายงายๆแต่ยังไม่มีคนเข้าใจมากนัก
วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
ไตเติลรายการทีนโซไซตี้
1.ชื่อเรื่อง
ไตเติ้ลรายการ ทีนโซไซตี้
2. ข้อมูล
เป็นรายการแนววาไรตี้ ที่เปิดโอกาสวัยรุ่นได้แสดง ออกทุกรูปแบบ ที่จะให้ผู้ชมได้สัมผัสโลกของวัยรุ่น
- ช่วง star เปิดโอกาสให้เพื่อนๆ มาโชว์อิสระทางความคิดและความสามารถ
- ช่วง mission เป็นการเชิญผู้มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มาสอนเทคนิคในการทำงานของตนให้สาวน้อยทั้ง 12 คนได้ทดลองทำ อาทิ คุณกงพัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการประดิษฐ์สิ่งของ มาสอนทำตุ๊กตาหมี , คุณภูรินัฐ เจ้าของร้านเบเกอรี่สไตล์ญี่ปุ่น มาสอนทำสตรอเบอร์รี่ซีสเค้ก ฯลฯ
- ช่วง มุข..ยี้..จีบหญิง เปิดโอกาสให้ผู้ชมร่วมสนุกกับรายการด้วยการส่งมุขจีบหญิง มาให้สาวน้อย12 คนช่วยโหวต มุขใครยี้ที่สุดจะได้รับของที่ระลึกจากรายการเป็นของรางวัล
- ช่วง avenue เป็นช่วงที่สาวน้อยทั้ง 2 ผลัดกันท่องไปในเทรนด์ล่าสุดของความอร่อย ของขนมสารพัดชนิด เพื่อให้ผู้ชมได้อัพเดทร้านอร่อย
3. วัตถุประสงค์
- เพื่อดึงดูดความสนใจให้แก่ผู้ชม
- มีความโดดเด่นให้กับรายการ
-เพื่อบอกรูปแบบของรายการได้อย่างชัดเจน
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก
ด้านกายภาพ
- ชาย / หญิง
- อายุ 13 – 25 ปี
- โสด / สมรส
ด้านจิตภาพ
- เป็นวัยรุ่นกล้าแสดงออก
- เป็นผู้ที่ชอบความเฮฮาสังสรรค์ในสังคม
-ชอบแฟชั่น ชอบความสวยความงาม
5. Concept
เที่ยวแบบมีสาระ
6. Mood / tone
- วัยทีน / เพิ่มความรู้ / ดูสนุกสนาน
วันอาทิตย์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2554
การทำ Banner
- สำหรับเราแล้วคือรูปสำหรับลิงค์กลับมาที่ บลอค หรือ เว็บ ของเราคะเป็นเหมือนรูปที่ดึงดูดความสนใจให้แก่ผู้พบเห็นแล้วยังสามารถอธิบายได้ถึงว่าเป็น บลอค หรือ เว็บ ที่เกี่ยวกับอะไรด้วย
ขนาดของ Banner ทั่วๆไป
- จริงๆแล้วก็ไม่ได้มีการกำหนดค่าแบบตายตัวเท่าไหร่ น่าจะขึ้นอยู่กับคนทำว่าต้องการใช้รูปขนาดไหนแต่ขนาดทั่วๆไปที่พบเห็นขนาดเล็กๆจะมี 50x50 88x31 100x35 ไปเรื่อยๆ
‘‘ยังฮยอนซอก’’ (Yang Hyun Seok) ประธานใหญ่แห่ง ‘‘YG Entertainment’’ ได้ออกมาเปิดเผยเกี่ยวกับกรณีข้อถกเถียงเรื่องชื่อเรียกของกลุ่มศิลปินหญิงที่รู้จักกันดีในนาม ‘‘Bigbang Girls’’ ซึ่งกำลังเป็นประเด็นร้อนกันอยู่ในขณะนี้ โดยเขาได้กล่าวผ่านทางสื่อแห่งหนึ่ง เมื่อวันที่ 30 มีนาคมว่า “ ผมยอมรับครับว่า ก่อนหน้านี้ เราได้เคยตกลงจะใช้ ‘‘21’’ เป็นชื่อเรียกกลุ่มศิลปินหญิงกลุ่มใหม่ของเรา ที่ผู้คนส่วนใหญ่มักจะเรียกเธอว่า ‘‘Bigbang Gilrs’’ กันไว้แล้ว ”
แต่ปรากฎว่า ล่าสุด กลับมีกระแสข่าวออกมาว่า แท้จริงแล้ว ชื่อ ‘‘21’’ (to anyone – ทู เอนี่วัน) นี้ เป็นชื่อนักร้องชายที่เคยใช้เดบิวต์ไปแล้วเมื่อตอนปี 2005 ทำให้หลายคนต่างเข้าใจไปว่ายังฮยอนซอกได้ดัดแปลงชื่อนี้มาใช้กับศิลปินของเขานั่นเอง ในขณะที่เขาก็ได้ออกมาเปิดเผยว่า “ ผมไม่เคยรู้เลยจริงๆ ว่าเคยมีนักร้องชายใช้ชื่อ ‘‘21’’ นี้มาก่อนน่ะครับ ”
แต่ทว่า ‘‘ยังฮยอนซอก’’ ก็ได้อธิบายต่อว่า “เพราะฉะนั้น เพื่อเป็นการยื่นยันความบริสุทธิ์ในเรื่องนี้ ทางเราก็จะทำการเปลี่ยนชื่อของพวกเธอ ทั้งตามคำบรรยาย และตามสื่อต่างๆ จาก ‘‘21’’ เป็น ‘‘2NE1’’ รวมทั้งจะดำเนินการใส่โลโก้ และชื่อเรียก ‘‘2NE1’’ อย่างเป็นทางการลงไปในแผ่นเพลงเดบิวต์ของพวกเธอครับ ” พร้อมยังกล่าวต่ออีกว่า “ถึงแม้ว่าผมอยากจะเก็บเรื่องที่เราต้องเปลี่ยนชื่อกลุ่มศิลปินสาวของเรามาเป็น ‘‘2NE1’’ ในครั้งนี้ไว้เป็นความลับจนกว่าพวกเธอจะเดบิวต์ แต่ในเมื่อเรื่องนี้เกิดเป็นประเด็นขึ้นมาแล้ว ผมก็ขอแจ้งให้ทุกคนทราบอย่างเป็นทางการในครั้งนี้ไปเลยละกันนะครับ และก็ขออย่าให้มีการเข้าใจอะไรผิดกันอีกเลย”
และภายในวันเดียวกันนั้น ยังฮยอนซอกยังได้กล่าวเพียงสั้นๆ อีกว่า “มันก็จริงอยู่ครับ ที่ความหมายของ ‘‘2NE1’’ อย่างหนึ่งก็คือ ‘‘to anyone’’ แต่ในเมื่อชื่อ ‘‘21’’ (to anyone) กลับสื่อไปถึงนักร้องคนอื่นได้ ผมเลยคิดว่า เราคงจะไม่ใช้ความหมาย ‘‘to anyone’’ อีกต่อไปครับ”
ทางด้าน YG ก็กล่าวอธิบายเกี่ยวกับชื่อ ‘‘2NE1’’ ว่า “ชื่อ ‘‘2NE1’’ นี้ มีความหมายเปรียบกลุ่มศิลปินสาวของเราแป็นกลุ่มพลังทางดนตรีที่มีความแปลกใหม่ ท้าทาย เช่นเดียวกับตอนช่วงเวลาที่คนเราอายุ 21 ปีนั่นเอง อีกทั้ง มันยังเป็นเลขแห่งชัยชนะในการเล่น แบล็คแจ็ค อีกด้วย”
ซึ่ง ‘‘2NE1’’ อันประกอบไปด้วย ‘‘ซานดารา ปาร์ค’’ (Candara Par), ‘‘ปาร์คบอม’’ (Park Bom), ‘‘กงมินจี’’ (Kong Min Ji) และ ‘‘ซีแอล(CL)’’ มีกำหนดจะเดบิวต์ในฐานะนักร้องกลุ่มหญิงล้วนอย่างเป็นทางการในเดือนพฤษภาคมที่จะถึงนี้ โดยล่าสุด พวกเธอก็ได้รับกระแสตอบรับอย่างดีเยี่ยมจากเพลง ‘‘Lollipop’’ ซึ่งร้องคู่กับศิลปินรุ่นพี่อย่างบิ๊กแบงนั่นเอง
บริษัท Yamaha ได้นำศิลปิน 2NE1 มาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับ Fiore
วันอาทิตย์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554
โครงการสื่อโฆษณาหน้าจอ
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
2. ข้อมูลเบื้องต้น / S W O T
สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นองค์กรวิชาชีพของสื่อมวลชนซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2543 โดยการรวมกันของสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย (พ.ศ.2498 - พ.ศ.2543) กับสมาคมนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (พ.ศ.2508 - พ.ศ.2543) โดยมีเป้าหมายเพื่อเสริมสร้างความเป็นเอกภาพในองค์กรวิชาชีพสื่อสารมวลชน ให้สามารถทำหน้าที่ผดุงไว้ซึ่งมาตรฐานทางวิชาชีพ และจริยธรรมของสื่อมวลชนไทยได้อย่างเข้มแข็งยิ่งขึ้น
วิสัยทัศน์ เป็นสถาบันหลักของผู้ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชน
SWOT
S= Strength สมาคมมีบทบาทในการดูแลสมาชิกครอบคลุมทั้งสวัสดิการรักษาพยาบาล ประกันชีวิต คลอดบุตร ทุนการศึกษาบุตร สวัสดิการมรณกรรม และดูแลนักข่าวอาวุโสโดยการจัดตั้งกองทุน เหยี่ยวปีกหัก เพื่อให้ความช่วยเหลือ
W = Weakness
-สมาคม จัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่สำหรับสมาชิกและผู้สนใจใน 4 รูปแบบ
1. หนังสือวันนักข่าว เผยแพร่ปีละ 1 ฉบับ ทุกวันที่ 4 มีนาคม
2. จุลสารราชดำเนิน เป็นวารสารราย 3 เดือน
3. จดหมายข่าวรายเดือน
4. การเผยแพร่ทางสื่ออิเลกทรอนิกส์ www.tja.or.th
O = Opportunity
- มีประชนชนโดยส่วยใหญ่ยังคงรับชม และติดตามข่าวสาร และสาระความบันเทิงของกิจการสื่อสารมวลชน ยังเหนี่ยวแน่นอยู่
T = Threat
- การมีสื่อใหม่ เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
- ส่วนแบ่งทางการตลาด ยังคงมีมากอยู่
- ข้อมูลข่าวอาจล่าช้าเพราะการพิมพ์
3. วัตถุประสงค์ (Objective)
1. ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งเสรีภาพของการเสนอข่าวและความคิดเห็น
2. ให้ประชาชนได้ทราบข่าวเฉพาะที่เป็นจริง การเสนอข่าวสารใด ๆ ออกพิมพ์โฆษณาเผยแพร่ ถ้าปรากฏว่าไม่ตรงตามความเป็นจริง ต้องรีบจัดการแก้ไขให้ถูกต้องโดยไว
3. ในการได้มาซึ่งข่าว ภาพ หรือข้อมูลอื่นใดมาเป็นของตน ต้องใช้วิธีการที่สุภาพและซื่อสัตย์เท่านั้น
4. เคารพในความวางใจของผู้ให้ข่าว และรักษาไว้ซึ่งความลับของแหล่งข่าว
5. ปฏิบัติหน้าที่ของตน โดยมุ่งหวังต่อสาธารณประโยชน์ ไม่ใช้ตำแหน่งหน้าที่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวหรือหมู่คณะใด ๆ โดยไม่ชอบธรรม
6. ไม่กระทำการอันเป็นการบั่นทอนเกียรติหรือความสามัคคีของเพื่อนร่วมวิชาชีพ
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
ด้านกายภาพ
- ชาย/หญิง/เด็ก/คนชรา
- โสด/สมรส
- ไม่จำกัดอายุ
- เป็นบุคคลที่ชอบดูรับชมข่าวสาร สาระบันเทิง และรายการทางสื่อโทรทัศน์ สื่อวิทยุ และสื่ออื่นๆ
- เป็นคนชอบอยู่บ้านดูทีวี ฟังวิทยุ
5. แนวความคิด (Concept)
เครือข่ายขับเคลื่อน ประชาชนมีสุข
6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)
ให้ความรู้ความบันเทิงพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าเพื่อรับใช้ประชาชนอย่างเต็มที่
7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone)
มุ่งมั่น ตั้งใจ ช่วยเหลือ
8. ผลตอบสนอง (Desired response)
1.สามารถเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการรับรู้ข่าวสารของประชาชนและสิทธิเสรีภาพในการนำเสนอข่าวสารของสื่อมวลชนได้
2.ประชาชนรับรู้ข่าวสารได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ